วันพุธที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

Interactive(Week 6 ICT & Museum Learning)

ICT AND MUSEUM LEARNING

  การเรียนรู้ สามารถแบ่งได้เป็น on-site และ online
               - On-site คือการที่ไปเรียนรู้ในสถานที่จริง ดูของจริง เพื่อดูการทำงานของคนเก่งๆทำให้ไดhเรียนรู้ในโลกแห่งความเป็นจริงว่าทำอะไรได้บ้าง
                - Online คือการเรียนรู้ผ่านอินเตอร์เน็ต ซึ่งทำให้สะดวกในการเข้าถึงแต่อาจไม่รับรู้ถึงอรรถรสอย่างถ่องแท้

---------------------------------------------------------------------------------------------
พี่โอห์ม จาก LI(เป็นหน่วยงานที่สนับสนุนการเรียนรู้ให้มีความน่าสนใจมากยิ่งขึ้น)
   
             พี่โอห์มได้เล่าประสบการณ์ในวัยเรียนว่าเคยมาอยู่กับคนในภาคคอมของเรา ได้มีประสบการณ์ฝึกการต่อ Lego(Play and Learn) หลังจากเรียนจบวิศวะแล้วได้ไปเรียนต่อในภาควิชานิเทศน์ซึ่งเหมือนกับการเปิดโลกใบใหม่ ซึ่งที่นั่นมีมุมมองต่างๆคนละมุมกับที่เคยอยู่ ซึ่งทำให้พี่โอห์มต้องปรับตัวโดยต้องลำดับความคิดใหม่
             หลังจากพี่โอห์มไปเรียนต่อได้สักพักพี่โอห์มได้เล่าว่าได้ทำโปรเจคชิ้นหนึ่งที่ถือว่าเป็น Interactive ชิ้นหนึ่ง ชื่อว่า Glow Pillow ผลงานชิ้นนี้เป็นไฟที่นำมาติดหมอนซึ่งสามารถปรับความสว่างได้ ใช้สำหรับการอ่านหนังสือก่อนนอน ซึ่งพี่โอห์มเล่าว่าเพื่อนๆของเขาไม่เชื่อในตอนแรก ว่าสามารถทำได้จริงเพราะคิดว่าการทำแบบนั้นเป็นสิ่งยากมากต้องให้ระดับพวก Apple จึงสามารถทำได้
             ความรู้ที่พี่โอห์มได้เรียนรู้มาและมาสอนพวกผมนั้นเป็นการเปิดโลกในอีกมุมมองที่ทำให้ผมได้ฉุกคิดว่าชีวิตยังมีอะไรอีกมาก เช่น "การทำงานชิ้นหนึ่งกว่าจะถึงปลายทางกว่า สิ่งที่สำคัญที่สุดคือระหว่างทางนั้นเราได้เรียนรู้อะไรบ้าง" "ความคิดสร้างสรรค์ก่อให้เกิดมูลค่าเพิ่มเป็นอย่างมาก" และพี่โอห์มยังได้เล่าถึงประสบการณ์ที่สามารถคว้ารางวัลเพราะสร้างโปรเจคชิ้นหนึ่งอีกด้วย



                                                           งานประเภทเดียวกับโปรเจคที่ได้รับรางวัลของพี่โอห์ม

       หลังจากนั้นผมได้ไปศึกษาเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ในการทำงานเกี่ยวกับกราฟฟิคหรือ 3D อนิเมชั่นในปัจจุบันซึ่งคอมพิวเตอร์ที่นำมาใช้ประมวลผลไม่ได้ใช้คอมพิวเตอทั่วไปที่เป็นตระกูล CPU core i แต่เป็นCPU ในตระกูล Intel Xeon


*ความรู้นอกเนื้อหา
  • physical computing -> hand on -> tangible
  • ubiquitus -> ทุกสิ่งทุกอย่าง
  • life long learning -> การพัฒนาตัวเองอย่างต่อเนื่องด้วยความสมัครใจ
  • ประเทศไทยไม่ได้จากเทือกเข้าอัลไต แต่คนไทยอยู่ที่ประเทศไทยอยู่แล้ว และศิลาจารึกก็ไม่มีอยู่จริงแต่เป็นเพียงกุศโลบายในการที่จะสร้างชาติ






REF Video1 :https: //www.youtube.com/watch?v=-GZwc9j-hfs
REF Video2 :http://www.youtube.com/watch?v=xcGCJFBpoJQ

วันอังคารที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

Whole Body Interaction

        Whole body Interaction is the integrated capture and processing of human signals from physical to generate feedback for interaction in a digital environment example You have some action with something and them have an action back to you.

So what is the challenges for whole body interaction
        The first one is Design for Whole Body Interaction start with the premise that all aspects of user are involved in interaction and only are elements removed are not require. So the example with Multi-user air guitar that is the nice of example because Multi-user air guitar that give the user play guitar with only image of guitar. If you play this guitar that will have motion sensor to detect your hand and calculate the speed, at the floor have the pad to control pressure and have some piezoeletric to transducer feedback. This is only one of the example Design for whole Body Interaction.
       The second, Engineering of Interaction. For sure if we had something that want to make that mean we must have engineer for develop for example Wii from Nintendo or the Microsoft Kinect to use in non-gaming domain but If you want to get good technology ,the good algorithm is an important thing that you can’t forget. In the present Wii and Kinect need least four point for reference on the body in Whole body interaction. Because we need feedback of sensor to be in real time.
        The last, Research Philosophy . Did you ever hear about HCI , The HCI is “Human Computer Interaction”. HCI is a subject that have much of work in whole body interaction takes place in cross-disciplinary content. HCI having particular perspective on interactive. Whole body Interaction is in one sense a reaction to that fragmentation and attempts to bring us back to the user as central in our design and research thinking. Answer we have a lot of question about research philosophy and methods. Cause that is a one of the underpinning disciplines of HCI and it will change the perspective thinking about that. For example about Motion capture & Physical interaction.
Whole Body Interaction in Abstract Domains
        Conceptual Metaphor is an Embodied cognition and it’s can apply to be difference ways as grounding metaphors, and in conceptual blends.
                A Complex Abstract Domain : Total Harmony is related multiple sources for example 2 or more than single or instrumentalists play some difference sound but it’s coordinate melody. To Understanding of harmony -related categories and variety of agencies. We only can directly control a single voice is not the only route to take.
              Sensory Motor Contingency Theory : Is a thing that shows  in order to learn to organize
and respond appropriately to sensory input in a new domain or context. So one of your action going to be powers.
     So about the example of Abstract Domain is projection floor to work with music and sound but in this case them use algorithm with floor color black & white to detect motion of people and get this motion to be reaction back to them.
Whole Body Large Display Interfaces for Users and Designers
     We can use whole body to remote control for interact with large surfaces and large displays. So we use ours shadow to control application. And we must use Wii remote to control ours shadow instead a mouse or a keyboard. This technology is easy reach of the hands instead mouse or laser pointers.
     The interaction space of whole body have 3 interaction space consists Personal space, Peripersonal space, and Extrapersonal space. The personal space is the space that occupied by the body, Peripersonal space is the space that easy reach of the hands, Extrapersonal space is the space beyond peripersonal space.
                       Capacitive Sensors for Whole Body Interaction
What is capacitive sensor?
     Capacitive sensor is a sensor that detect about electrode. So we use its because it’s cheap, small, robust, and flexible to use in embedded system. Because the capacitance in capacitive sensor will charge when you stay close the sensor then capacitive sensor will generate oscillation signal for output works. (The distance of object and capacitive sensor up to initial capacitance)
     The first time of using this innovation in 1919 by Leonid Termen. That use to control pitch and volume ,and tracking body movement as the conductor by hand movement near antenna.
      In the present determined hand pose by capturing wrist shape using wristband contain capacitive. And to learn about electricity in human (arm and hand). We provide the electric to human’s arm and learn about which tendon control which muscles.
     So we think a great idea of the capacitive sensors is to be a game controller move the ball to left and right ,make the ball jump and move the ball forward  By just using 2 capacity sensors on desk and a capacity plate on the floor.
     For overall, The whole body interaction is an action from ours body to communicate with technology that had been design by engineer to make the world better than the present. So the technologies or the computers are the things that human can’t live without.
______________________________________________________________________________
Reference :
  • Raphael Wimmer, Chapter 10 Capacitive Sensor for Whole Body Interaction
  • http://www.music.mcgill.ca/~gabriel/courses/mumt619/Capacitive_Sensing/Capacitive_Sensing.pdf
  • http://www.foodnetworksolution.com/wiki/word/4346/capacitive-proximity-sensor- พร็อกซิมิตี้เซนเซอร์ชนิดเก็บประจุ
  • http://lab.rekimoto.org/projects/possessedhand/
  • http://www.intechopen.com/download/get/type/pdfs/id/39787
  • http://en.wikipedia.org/wiki/L%C3%A9on_Theremin
  • http://www.google.co.th/imgres?hl=th&biw=975&bih=559&tbm=isch&tbnid=mm6XcjsTh1qwVM%3A&imgrefurl=https%3A%2F%2Fvisionhelp.wordpress.com%2Fcategory%2Fvision-therapy-heritage%2Ffeed%2F&docid=M2dT6VGpxPL01M&imgurl=https%3A%2F%2Fvisionhelp.files.wordpress.com%2F2012%2F11%2Fneuropsych-regions-of-space.gif%253Fw%253D388&w=367&h=254&ei=rWP8UtW4JMmXrAfSx4GgBw&zoom=1&ved=0CF8QhBwwBQ&iact=rc&dur=314&page=1&start=0&ndsp=13
_____________________________________________________________________________
Thanuphon        Phetthong                                  54211518
Worapon           Prathuangthip                            54211540
Apiwat              Rungsawangsukon                     54211574

วันศุกร์ที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

Interactive(Week 5 Phase of work in exhibition & museum)

Phase of work  in Exhibition  & Musuem


Phase of work  in Exhibition  & Musuem
  • Conceptual Phase
  • Assessment Phase
  • Terminating Phase   
  • Functional Phase
  • Deverlopmental Phase
  • Content Development 

NDMI
  •     TK Park
  •     TCDC
  •     Musuem




*ความรู้นอกเนื้อหา
  •  นิทรรศการ HelloWord "เราจะออกแบบอนาคตกันอย่างไร"
HelloWord "เราจะออกแบบอนาคตกันอย่างไร"

        เมื่อโลกหมุนเร็วขึ้นทุกวัน เราจะเร่งรีบเพื่อให้ทันการเปลี่ยนแปลง ผ่อนจังหวะเพื่อใช้เวลาใคร่ครวญ หรือสร้างจังหวะใหม่ขึ้นมาเอง เราจะผสาน “สินทรัพย์” เดิมกับ “ปัญญา” ใหม่อย่างไรเพื่อสร้างคุณค่าและชีวิตที่ดีกว่า อะไรคือสมดุลใหม่ในการอยู่กับความเหลือเฟือจากเทคโนโลยีและความขาดแคลนของทรัพยากรโลก หรือกระทั่งความหมายของ“สุนทรียภาพ” ในยุคที่วิทยาศาเข้ามาทดแทนบทบาทสร้างสรรค์ของมนุษย์

  • การพยากรณ์อากาศของกรมอุตุจะแม่นยำได้จะต้องอาศัยการประมวลผลจาก Super computer มีความสำคัญมากๆในต่างประเทศเพราะในต่างๆประเทศแต่ละฤดูกาลเวลากลางวันและกลางคืนจะต่างกันมาก และอากาศในแต่ละวันจะเปลี่ยนแปลงได้รวดเร็ว
  •  SEO -> Search Engin Optimization เป็นอาชีพที่มีรายได้เยอะมาก หากสามารถทำการตลาดได้ดี
  • Launching คือการเปิดตัวให้คนรู้จักเมื่อมีการผลิตสินค้าและบริการใหม่ๆ และมักทำก่อนการเปิดตัวจริงๆเพื่อเป็นการทดลองใช้เพื่อแก้ข้อผิดพลาดต่างๆ 




วันอาทิตย์ที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

ฟังบรรยายจาก Professor Dr. Sunyoung Han

Professor Dr. Sunyoung Han

Department of Computer Science & Engineering,

Konkuk University, Korea




Information Centric Networking
- introduction of ICN
- research activities & project
- ICN Architecture
         -  content centric networking ( CCN )
         -  expressive interrnet architecture ( eia )

Scalable cache-based content Distribution

Problems with today's networks

- URL and IPaddress are overloaded with locator and indentifier
- no consistent way to keep track of identical copies
- information dissemination is inefficient
- can't trust a copy received from an untrusted node 
- application and content provider in independence

Future internet requirements
-better mobility support
-more flexible and reliable routing
-better service-aware resource control
-better security and spam protection

Information Centric Networking
-today internet -> focus of node
-Information centrice network -> focus on onformation objects

CCN
-originated by Van Jacobson
-one - phase approach though interrest/data packets flowing in a reverse ack/data TCP-style
-CCNX implementation is publicly available







วันพุธที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

Interactive(Week 4 Museum & exhibition)

Interactive Computing in Museum-Exhibition


       มาลองเป็นคนตาบอดกันดีกว่า แต่ที่ว่าเป็นคนตาบอดไม่ได้หมายถึงให้เราเอาไม้มาจิ้มตาจนมองไม่เห็นหรอกนะครับ แต่จะชวนให้มานิทรรศการที่มีชื่อว่า Dialogue in the dark หรือบทเรียนในความมืด!!ซึ่งเราจะจำลองตัวเองว่าเราไม่สามรถมองเห็นโดยการทำกิจกรรมต่างๆในความมืด
       โดยนิทรรศการนี้จะให้เราใช้เวลา 1 ชั่วโมงกว่าๆ กับการลองมาใช้ชีวิตแบบคนตาบอดดู เพราะภายในนิทรรศการนั้น มืดมาก มืดขนาดที่เรามองอะไรไม่เห็นเลย 

การออกแบบนิทรรศการ (ถูกเปรียบเทียบว่าคล้ายกับการ search engine)โดยออกแบบให้ ง่าย สนุกและน่าจดจำ ซึ่งการออกแบบนิทรรศการประกอบไปด้วย
- การสื่อสาร ประกอบด้วย 1.โชว์ของ เป็นการสื่อสารด้วยของที่มีอยู่ 2.โชว์สมอง เป็นการสื่อสารด้วยการคิดและถ่ายทอดออกมาได้อย่างน่าสนใจ
-การกระตุ้น ประกอบด้วย 1.สนุก 2.ได้ค้นหา 3.มีส่วนร่วม ซึ่งหากประกอบด้วยสามส่วนนี้จะทำให้นิทรรศการไม่น่าเบื่อเลยทีเดียว
-แบ่งปันประสบการณ์ (เมื่อได้ดูนิทรรศการแล้วยังไปบอกต่อ)ประกอบด้วย 1.ไม่เน้นอ่าน คือตัวหนังสือไม่ควรมีเยอะเกินไป 2.ไม่เหมือนท่องเน็ท คือไม่สามรถหาประสบการณ์นั้นๆได้จากการดูจากอินเตอเน็ทได้เพียงอย่างเดียว 3.สัมผัสได้ที่นี่เท่านั้น

*ความรู้นอกเนื้อหา
 - คำว่า museum เมื่อใช้ทับศัพท์จะมีความหมายแตกต่างจากพิพิธภัณฑ์ซึ่งคนไทยเข้าใจว่าเป็นสถานที่แสดงของเก่า
 - curator หรือภัณฑารักษ์ คือคนที่ดูแลการจัดการของ museum

 - การใช้น้ำและควันกำลังเป็นที่นิยมเป็นที่นิยมในการจัดแสดงของmuseum แต่การที่จะสร้างขึ้นมาได้นั้นต้องมีความรู้ทางด้านฟิสิกส์เป็นอย่างมาก
 - green computingคือการใช้เทคโนโลยีที่รับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมเช่น การนำเทคโนโลยีเก่ามาทำใหม่
 - blue screen เป็นเทคนิคการถ่ายทำหนังซึ่งจะแสดงบนฉากสีฟ้าหรือเขียวแล้วสามารถตัดต่อหรือใส่เอ็ฟเฟ็คต่างๆลงไปได้